วารสาร

เอกสารสิ่งพิมพ์ ๒๕ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๖๐
ปกิณกะ

เอกสารสิ่งพิมพ์ ๒๕ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๖๐

สมชัย บวรกิตติ

เมื่อบทความ "เป็นราชบัณฑิต ๒๕ ปี" ทำนองนี้เคยลงพิมพ์ในลงพิมพ์ในวารสารราชบัณฑิตยสภา แต่เนื่องจากช่วงนั้นวารสารราชบัณฑิตยสภายังออกไม่ทันกำหนดเวลเป็นปี ผู้เขียน จึงนำบทความไปลงวารสารนอกสถาบัน มีผู้อ่านบางท่านแนะนำว่าบทความทำนองนี้ควรลงพิงพิมพ์ ในวารสารราชบัณฑิตยสภา จึงแยกส่วนที่เป็นเอกสารสิ่งพิมพ์ไปบันทึกไว้ในวารสาร...

เมษายน - มิถุนายน 2568
ระบบสาธารณสุขไทยอยู่รอดได้เพราะใคร
นานาสาระ

ระบบสาธารณสุขไทยอยู่รอดได้เพราะใคร

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

ตั้งแต่ผมจบการศึกษาแพทย์ 6 ปีใน พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน ปัญหาของระบบสาธารณสุข ประเทศไทยก็ยังมีปัญหารูปแบบเดิม ไม่ได้ลดลงเลย แต่กลับทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งที่ ในระบบนั้นมีจำนวนแพทย์ พยาบาล เภสัชกร ทันตแพทย์ และทีมสหวิชาชีพอื่นๆ มากขึ้น ตลอดจนอุปกรณ์ทางการแพทย์ งบประมาณที่รัฐบาลจัดสรรให้มีจำนวนมากขึ้น แต่ปัญหาต่างๆ กลับมีมากขึ้น...

เมษายน - มิถุนายน 2568
นโยบายสาธารณสุขไทย ความฝันที่เป็นจริง
นานาสาระ

นโยบายสาธารณสุขไทย ความฝันที่เป็นจริง

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

ผมมีความฝันว่าระบบสาธารณสุขไทยต้องเป็นที่พึ่งของคนไทยทั้งประเทศ ซึ่งในปัจจุบัน นั้นยังมีปัญหามากมาย ทั้งขาดแคลนกำลังคน งบประมาณไม่เพียงพอ โรงพยาบาลขาดสภาพ คล่องจำนวนมาก ภาระงานที่หนักหน่วง ผลการรักษาผู้ป่วยหลายโรคยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่ควรจะ เป็นของประเทศ แล้วในแต่ละปี แต่ละรัฐบาลก็มีนโยบายใหม่ๆ เพิ่มขึ้น มีการกำหนดเกณฑ์ มาตรฐานของแต่ละโรคมากขึ้น แต่งบประมาณไม่ได้เพิ่มมากขึ้นตามสัดส่วนของงานที่เพิ่มขึ้น...

เมษายน - มิถุนายน 2568
ทางรอดระบบสุขภาพประเทศไทย
นานาสาระ

ทางรอดระบบสุขภาพประเทศไทย

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

ระบบสุขภาพของประเทศไทยในมุมมองของผมที่เคยได้พักอาศัยในประเทศอังกฤษเป็น ระยะเวลา 1.5 ปีในช่วง ค.ศ. 1999-2000 โดยไปฝึกอบรมด้านประสาทวิทยา ผมมองว่าระบบ สุขภาพของประเทศไทยมีความสะดวก สบาย และมีค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยต่ำมากๆ ระยะเวลารอ คอยเข้ารับบริการก็สั้น หรือแทบจะไม่ต้องรอเลยก็ว่าได้ ประเทศต่างๆ ก็ยอมรับในระบบสุขภาพ ของประเทศไทยให้มีลำดับต้นๆ ของประเทศต่างๆ ทั่วโลก...

เมษายน - มิถุนายน 2568
การแก้ปัญหาขาดแคลนบคลากรทางการแพทย์
นานาสาระ

การแก้ปัญหาขาดแคลนบคลากรทางการแพทย์

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์นั้นเป็นปัญหาเรื้อรังทที่มีมานานมาก ตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบันและก็คงจะเป็นอย่างนี้ไปตลอด เพราะภาระงาน ความคาดหวังของคนในสังคม ลักษณะการใช้ชีวิตของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการให้มี work life balance ด้วยหลายเหตุผลนี้เองที่ทำให้ หลายต่อหลายคนเป็นห่วงว่าระบบสุขภาพของประเทศไทยจะไปไม่รอด...

เมษายน - มิถุนายน 2568
รู้หลบเป็นปีก รู้หลีกเป็นหาง
จดหมายถึงบรรณาธิการ

รู้หลบเป็นปีก รู้หลีกเป็นหาง

สมชัย บวรกิตติ พ.ด., Hon.MRCP, FRCP, FRACP, Hon.FACP

คำคมนี้ คนทั่วไปรู้จักความหมาย เป็นคำสอนให้เกิดความฉลาดรู้ จะขอยกตัวอย่างความรู้ ที่เกี่ยวกับบุหรี่อีเลคทรอนิค (electronic cigarettes) ที่คนส่วนใหญ่เรียกว่าบุหรี่ไฟฟ้า และคนส่วนใหญ่ ยังสับสน...

เมษายน - มิถุนายน 2568
ศัพท์สับสน: Long COVID-19 และ Long-COVID-19
จดหมายถึงบรรณาธิการ

ศัพท์สับสน: Long COVID-19 และ Long-COVID-19

สมชัย บวรกิตติ พ.ด., Hon.MRCP, FRCP, FRACP, Hon.FACP

องค์การอนามัยโลกตั้งซื่อโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ที่พบในเมืองวูฮัน ประเทศจีน เมื่อ ค.ศ. ๒๐๑๙ ว่า coronavirus disease-2019 ใช้ชื่อย่อว่า COVID-19 กรณีผู้ป่วย COVID-19 รายที่การดำเนินโรคยืดเยื้อกว่ารายทั่วไป ที่อาจเกิดจากมีสาเหตุร่วม จะเรียกโดยภาษาทั่วไปว่า Long COVID-19 แต่ได้พบว่ามีการดำเนินโรคอีกแบบหนึ่งที่ เรียกว่า Post-COVID-19 syndrome หรือ Long-COVID -19...

เมษายน - มิถุนายน 2568
Asbestos Found in Lungs of Half the Thailand Population
Letter to the Editor

Asbestos Found in Lungs of Half the Thailand Population

Somchai Bovornkitti MD, Hon.MRCP, FRCP, FRACP, Hon.FACP

Almost 50 percent of the general population in Thailand may die with at least traces of asbestos in their lungs, based on two studies. Chrysotile fibers were discovered in the lungs of nearly 50% of those who were part of two post-mortem analysis done by two Departments of Pathology, Mahidol University in Bangkok.

เมษายน - มิถุนายน 2568
Don’t Panic
Letter to the Editor

Don’t Panic

Somchai Bovornkitti MD, DScMed, FRST

Electronic cigarettes (e-cigs) are available in two options, e.g. the nicotine liquid (N-cig) and the heat-not-burn’ tobacco (HnB). The nicotine liquid cigarette contains variable concentrations of nicotine...

เมษายน - มิถุนายน 2568
ผลลัพธ์ของโปรแกรมการดูแลทารกระยะปริกำเนิดแบบประคับประคอง
Original Article

ผลลัพธ์ของโปรแกรมการดูแลทารกระยะปริกำเนิดแบบประคับประคอง

ยุภาภรณ์ สายแสน,รัตนาภรณ์ ศิริเกต,แพงพรรณ ศรีบุญลือ,ศรีเวียง ไพโรจน์กุล,อรรถกร รักษาสัตย์

การตั้งครรภ์เป็นสิ่งที่บิดา มารดาตั้งความหวังไว้เป็นอย่างสูง และมีความหวังว่าทารก จะคลอดออกมาปลอดภัย แข็งแรงและพร้อมที่จะเจริญเติบโต ซึ่งนับเป็นความสำเร็จของการเป็น บิดา มารดาโดยสมบูรณ์ แต่ในบางครอบครัวอาจไม่สามารถสมหวังกับทารก ส่วนหนึ่งพบว่าเกิด ความผิดปกติตั้งแต่เป็นตัวอ่อนในครรภ์ (fetal anomaly) ซึ่งไม่สามารถมีชีวิตรอดได้...

เมษายน - มิถุนายน 2568