วารสาร

สัดส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อคุณภาพของอาหาร ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

สัดส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อคุณภาพของอาหาร ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

พิมพ์ชนก วุฒิ, ปภาวรินท์ เหลืองจารุ, ภัทรนันท์ ศรศิลป์, มัณธนพร ชนะภัย, ผุสชา ขุนทิพย์ทอง, การัณย์ สวาทพงษ์, วรินทร วาดวงศ์, วสภะ องค์ธนาวัฒน์, บังอรศรี จินดาวงค์, ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์

อาหาร เป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต เมื่อร่างกายเจ็บป่วย ผู้ป่วยต้องการสารอาหาร และพลังงานมากขึ้น แต่สภาวะโรคกลับทำให้เบื่ออาหาร รับประทานอาหารได้ลดลง หากได้ รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอจะเกิดภาวะทุพโภชนาการได้ในที่สุด ซึ่งพบได้บ่อยใน ผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาลทุกช่วงอายุ ความชุกร้อยละ 20-504 ในประเทศไทยพบความชุกเฉลี่ย ร้อยละ 40...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565

ผู้เขียน

ศ.นพ.สมชัย บวรกิตติ ศ.กิตติคุณ ดร.พญ.นิภา จรูญเวสม์ ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า เควิน พี่. โจนส์ แจ็กเกอลีน แคโรลีน โจนส์ เนาวรัตน์ แก้วตา กวิน ตั้งวรพงศ์ชัย สมสมัย ศรีประไหม สุกัญญา สุกุมาลย์ พจน์ ศรีบุญลือ สมปอง จันทะคราม ปาริชาติ เพียสุพรรณ์ ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ณัฐชญา บัวละคร แพงพรรณ ศรีบุญลือ รัตนาภรณ์ ศิริเกต วริศยา แก่นนาคำ ชุติมา เทียนทอง เฉลิมศรี สรสิทธิ์ ปาริชาติ เพียสุพรรณ์ ณัฐชญา บัวละคร เฉลิมศรี สรสิทธิ์ อัมรา ศิริทองสุข พะยอม บุญสุด ศรพิศ พรมผิว จันทร์เพ็ญ ปริตรวา รัตนาภรณ์ ศิริเกต ปาริชาติ เพียสุพรรณ์ ศรีเวียง ไพโรจน์กุล สมศักดิ์ เทียมเก่า

Tags

บุหรี่ ความชุก การฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก Human Papillomavirus (HPV) นักศึกษาหญิง มหาวิทยาลัยขอนแก่น HPV การส่องกล้องลำไส้ใหญ่ ความปวด การประเมินความปวดโดยการสังเกต พฤติกรรมของผู้ป่วย ศรีนครินทร์เวชสาร การวิเคราะห์บทความวิจัย ผู้ป่วยระยะท้าย การดูแลแบบประคับประคอง โปรแกรมการจัดการอาการ หายใจลำบาก การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การดูแลแบบประคับประคอง การดูแลความเศร้าโศกจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก โรคสมองเสื่อมระยะท้าย การดูแลแบบประคับประคอง ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายแบบประคับประคอง stroke fast track SFT โรคหลอดเลือดสมอง stroke