วารสาร

สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยและเขตสุขภาพที่ 7
นานาสาระ

สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยและเขตสุขภาพที่ 7

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรง คือ พิการ หรือเสียชีวิต ถึงแม้จะมีการรักษาที่ดีในปัจจุบันด้วยระบบบริการ stroke fast track ก็ตาม...

มกราคม - มีนาคม 2567
ระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองจังหวัดขอนแก่น
นานาสาระ

ระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองจังหวัดขอนแก่น

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของสาเหตุการเสียชีวิตของคน ไทย และก่อให้เกิดความพิการ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและคนในครอบครัว ปัจจุบันการรักษาที่ได้ผลดี คือ การรักษาด้วยระบบทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke fast track (SFT)

มกราคม - มีนาคม 2567
การยกเครื่องระบบสาธารณสุขไทย
นานาสาระ

การยกเครื่องระบบสาธารณสุขไทย

สมศักดิ์ เทียมเก่า

ปัญหาสุขภาพของคนไทยในขณะนี้เป็นปัญหาใหญ่มาก แต่ละปีต้องใช้งบประมาณของ ประเทศ และค่าใช้จ่ายแต่ละครัวเรือนเป็นจำนวนมหาศาล ใช้บุคลากรทางการแพทย์สาธารณสุข เป็นจำนวนมาก ส่งผลให้ภาระงานของบุคลากรที่มีจำนวนไม่เพียงพออยู่แล้วนั้นเพิ่มขึ้นอย่างมาก ก่อให้เกิดผลกระทบตามมา 1 ในหลายผลกระทบนั้น คือ...

มกราคม - มีนาคม 2567
ปอดกัญชา
จดหมายถึงบรรณาธิการ

ปอดกัญชา

นพ.สมชัย เจียรนัยศิลป์

ในควันกัญชามีสารระคายทางหายใจมากกว่าสารในควันยาสูบ สารดังกล่าวได้แก่ แอมโมเนีย กรดฮัยโดรศัยอะนิค อะโครเลอิน และเบนซีน ในกรณีการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ควันกัญชามีสารโพลีย์นูเคลียร์ แอโรมาติค ฮัยโดรคาร์บอน (PAH) เช่นเดียวกับที่พบในควันยาสูบ แต่มีปริมาณสูงกว่า...

มกราคม - มีนาคม 2567
ความเหมือนที่แตกต่าง
จดหมายถึงบรรณาธิการ

ความเหมือนที่แตกต่าง

ศ.นพ.สมชัย บวรกิตติ

บทความนี้จะบรรยายเรื่องบุหรี่ โดยนัย “ความเหมือนที่แตกต่าง” เนื่องจากบุหรี่เป็นเรื่อง ที่นักวิชาการไทยฝ่ายสุขภาพสนใจกันเนิ่นนานมาแล้ว แต่ ณ ปัจจุบันหลายท่านยังมีวิสัยทัศน์ แตกต่างกัน

มกราคม - มีนาคม 2567
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาด้วยการสวนหลอดเลือดสมอง
Topic Review

การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาด้วยการสวนหลอดเลือดสมอง

สุนันทา รินทวุฒิ, กิตติมา ดงอุทิศ

ในปัจจุบันการรักษาโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลันมีเป้าหมายในการ ป้องกันส่วนเนื้อสมองที่ขาดเลือดแต่เซลล์ประสาทยังทำงานได้ปกติ (penumbra) โดยการเปิด หลอดเลือด (recanalization) ให้เลือดสามารถกลับมาเลี้ยงบริเวณที่ขาดเลือดให้เร็วที่สุด...

มกราคม - มีนาคม 2567
การรับ-ส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
Topic Review

การรับ-ส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง

สุนทราพร วันสุพงศ์, พรเพียร วชิราเจียรนนท์

ในปัจจุบันการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) นับว่าเป็นกระบวนการ ที่สำคัญอย่างยิ่งในระบบการบริการทางสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างทันท่วงทีและ ต่อเนื่อง เข้าถึงแพทย์เฉพาะทางได้รวดเร็ว ลดภาวะแทรกซ้อนปลอดภัยจากภาวะคุกคามต่อชีวิต...

มกราคม - มีนาคม 2567
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ
Topic Review

การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ

สิรินทรารักษ์ แนวพิลา

โรคหลอดเลือดสมองเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขระดับโลกที่พบจำนวนผู้ป่วย เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ผลกระทบของโรคหลอดเลือดสมองก่อให้เกิดความบกพร่อง ในหลายด้าน รวมทั้งทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยรวมทั้ง บุคคลใกล้ชิดด้วย ผลกระทบที่พบบ่อยสามารถแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ...

มกราคม - มีนาคม 2567
การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนหน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม
Original Article

การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนหน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม

นภสินธุ์ ไชยเสนา, รานี แสงจันทร์นวล

ปัจจุบันคนไทยมีอายุขัยเฉลี่ยที่ยาวนานขึ้นและจำนวนประชากรผ้สูงอายุเพิ่มขึ้นจากการ พัฒนาประเทศและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางการแพทย์ การพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าว ทำให้การรักษาโรคได้ผลดีขึ้น อัตราการตายลดลง และประชาชนมีอายุยืนยาวขึ้น ทำให้ประชากร สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น จากสถิติประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2565 มีจำนวนผู้สูงอายุ ถึง 12,519,926 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 18.44 เมื่อเทียบกับประชากร 66 ล้านคน

มกราคม - มีนาคม 2567
โครงการพัฒนางานการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมในชุมชนด้วยสุข 5 มิติ หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม
Original Article

โครงการพัฒนางานการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมในชุมชนด้วยสุข 5 มิติ หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม

นภสินธุ์ ไชยเสนา, ยุวดี ลาดเหลา, กาญจนา แก้วมงคล, ศิริพร นามมา, กุหลาบ รัตนภักดี,รานี แสงจันทร์นวล

สถานการณ์ผู้สูงอายุของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562 มีจำนวนผู้สูงอายุถึง 11,136,059 คน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2561 ถึง 469,256 คน คิดเป็นร้อยละ 16.73 เมื่อเทียบกับประชากรทั้งหมด ของประเทศจำนวน 64 ล้านคน และมีแนวโน้มว่าสัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 25.00 หรือเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่าตัว ในปี พ.ศ. 2573...

มกราคม - มีนาคม 2567

ผู้เขียน

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ Somsak Tiamkao ชลจิต บุษราคัม สุภาพร ภู่ศิริภิญโญ รื่นฤดี แก่นนาค พจน์ ศรีบุญลือ สมปอง จันทะคราม ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า รังสรรค์ ปุษปาคม พีรพล มหาสันติปิยะ กิตติพงศ์ สุวรรณเลิศ สิริกร บุพศิริ อดิศวร เชียร์สุขสันต์ อริยาภรณ์ แก้วเวียงเดช ศุภาวรรณ สุพรรณ พรพิพัฒน์ อุทธิเสน อาคม บุญเลิศ สมพงษ์ ศรีแสนปาง สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล สมศักดิ์ เทียมเก่า สุณี เลิศสินอุดม ในนามของกลุ่มวิจัยโรคลม ชักแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กิตติมา ดงอุทิศ นิภาพรรณ ฤทธิรอด เดือนฉาย นภัทร์วิชญสกุล เตือนใจ พิทยาวัฒนชัย รัศมี ภาวะพินิจ