วารสาร

ความชุกของการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก Human Papillomavirus (HPV) ในนักศึกษาหญิงมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

ความชุกของการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก Human Papillomavirus (HPV) ในนักศึกษาหญิงมหาวิทยาลัยขอนแก่น

เควิน พี่. โจนส์, แจ็กเกอลีน แคโรลีน โจนส์

Cervical cancer is the fourth most diagnosed cancer and the fourth leading cause of cancer death in women worldwide, and human papillomavirus (HPV) infection is the leading cause of cervical cancer...

กรกฎาคม - กันยายน 2567
การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam
Original Article

การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam

สมปอง จันทะคราม, สวลี แก่นเชียงสา

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 (COVID-19) ที่เป็นการระบาดใหญ่ โดย เริ่มจากประเทศจีนเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2562 ต่อมาได้พบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศทั่วโลก และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศโรค COVID-19 เป็นโรคระบาดที่มีจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิต จำนวนมาก จากสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียน การสอน...

เมษายน - มิถุนายน 2566
Allying Words
Letter to the Editor

Allying Words

Somchai Bovornkitti

Clarifying for laypersons and medical students a few frequently misunderstood medical

มกราคม - มีนาคม 2566
ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565
Original Article

ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565

จันทนา ผางโคกสูง, อนุพล พาณิชย์โชติ

การจัดการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต มีความแตกต่างจากคณะอื่นๆ โดยเฉพาะ การจัดการศึกษาในชั้นคลินิกเนื่องจากมีการเรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการฝึกปฏิบัติทางคลินิก ลักษณะของหลักสูตรแบ่งออกเป็นสองช่วงชั้น คือระดับปรีคลินิกและคลินิก ซึ่งมีความแตกต่าง กันในหลายบริบท จากสถานการณ์และความเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ภาวะสุขภาพและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี...

มกราคม - มีนาคม 2566
สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19

ณัฐธวัช งามอุโฆษ, ธัญชนก บุษปฤกษ์, รัชพล โอกาศเจริญ, ศิรกาญจน์ ภัทรากรทวีวงศ์, สุธิดา นำชัยทศพล, ภูวิศ สิทธิโชติวงศ์, ปฤษฎี ธนพงศ์เดชะ, พรปวีณ์ พฤกษ์ปิติกุล, พรรษ โนนจุ้ย

มกราคม - มีนาคม 2566
สัดส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาตรีต่อความต้องการชุดปฐมพยาบาลประจำหอพักส่วนกลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

สัดส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาตรีต่อความต้องการชุดปฐมพยาบาลประจำหอพักส่วนกลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณัชชนก คำพิทักษ์, พนิตา ค้าขาย, ธิดามาศ อภิธรรมบัณฑิต, สุธาสินี เหล่าศักดิ์ชัย, ณัฐวัฒน์ มณีเติม, จิตรทิวา คำจริง, อาคม บุญเลิศ, กัลยา อารยางค์กูร, วิลาวัณย์ อุ่นเรือน, ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์

การดูแลสุขภาพตนเอง (self-care) นั้นเป็นพื้นฐานขั้นแรกสุดของระบบบริการสุขภาพ ของประเทศไทยก่อนที่จะเข้ารับบริการทางสุขภาพจากสถานบริการทางสาธารณสุขในระดับที่ สูงขึ้นไป การมีชุดปฐมพยาบาลจะช่วยอำนวยความสะดวกในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สิทธิทัศน์ เบญจปฐมรงค์, ราชสาส์น สมานจิตต์, วิทวัช ฉัตรธนาธรรม, พิมรพี ปัญญานนทชัย, มะลิ มณีรัตน์, ศุภญาณกร วัฒนธร, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์, พรรษ โนนจุ้ย

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คือ โรคติดต่อที่มีการค้นพบครั้งแรกที่อู่ฮั่น ประเทศจีน โดยส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย การหายใจร่วมกับผู้ติดเชื้อที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และการสัมผัสตา จมูก ปาก ด้วยมือที่มีเชื้ออยู่...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย

Proportion of Clinical Medical Students with Accurate Knowledge About COVID-19 Vaccination in Thailand

ในช่วงการระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่งส่งผลกระทบเป็นอย่างมากกับสังคมในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว รวมไปถึงระบบสาธารณสุข วัคซีนสำหรับไวรัส COVID-19 จึงถือเป็นหัวใจสำคัญในการแก้ปัญหาสถานการณ์การระบาด ดังนั้นจึงปฏิเสธไม่ได้ว่าการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 และตัวไวรัส COVID-19 นั้นจำเป็นอย่างยิ่งทั้งกับบุคคล ทั่วไปและบุคคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักศึกษาแพทย์ที่กำลังศึกษา...

กรกฎาคม - กันยายน 2565
ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
Original Article

ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19

พีรพล มหาสันติปิยะ, กิตติพงศ์ สุวรรณเลิศ, สิริกร บุพศิริ, อดิศวร เชียร์สุขสันต์, อริยาภรณ์ แก้วเวียงเดช, ศุภาวรรณ สุพรรณ, พรพิพัฒน์ อุทธิเสน, อาคม บุญเลิศ, สมพงษ์ ศรีแสนปาง

ความเครียดเป็นอารมณ์ที่พบได้โดยทั่วไปในชีวิตประจำวัน โดยความเครียดในระดับปกติ ที่เกิดขึ้นสามารถทำให้เกิดการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิด ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตได้ แต่ความเครียดที่มากขึ้นในระดับที่เป็นอันตราย อาจก่อให้เกิด ผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ ส่งผลกระทบต่อการเรียน การทำงาน หรือการใช้ชีวิตประจำวัน...

กรกฎาคม - กันยายน 2565

ผู้เขียน

สมชัย บวรกิตติ สายสมร พลดงนอก สมศักดิ์ เทียมเก่า สุพรรณี อุพลเถียร ภัทราภรณ์ บุญใบ พรนภา บุญตาแสง อุบล จ๋วงพานิช พรทิพย์สมัย โมลี เกสร เหล่าอรรคะ ณัฐวรรณ นามวงศ์พิสุทธิ์ จักรกฤษ วงชมภู ปฏิภาณ โทอินทร์ ปาณัสม์ พัฒน์ดำรงจิตร รัฐกานต์ ศรีหาคลัง นภัสสร ตัณฑ์กำเนิด วนัชพร ทิพย์โยธา วริสรา ลุวีระ บังอรศรี จินดาวงค์ เนาวรัตน์ แก้วตา กวิน ตั้งวรพงศ์ชัย สมสมัย ศรีประไหม สุกัญญา สุกุมาลย์ ณัฐวรา แสงวิจิตร ชวัลวิทย์ อยู่วิทยา ภัทรพล ขำดี สิรวิชญ์ วรรณศรี ก้องเกียรติ กองกาญจนะ ชญานิศ โรจนศักดิ์โสธร ปิยลักษณ์ ห้าวหาญ สุชาดา ภัยหลีกลี้ ศิรินทิพย์ บุญจรัสภิญโญ สมชัย บวรกิตติ FB สถาบันอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม กรมการแพทย์ Somchai Bovornkitti