วารสาร

ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
Original Article

ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19

พีรพล มหาสันติปิยะ, กิตติพงศ์ สุวรรณเลิศ, สิริกร บุพศิริ, อดิศวร เชียร์สุขสันต์, อริยาภรณ์ แก้วเวียงเดช, ศุภาวรรณ สุพรรณ, พรพิพัฒน์ อุทธิเสน, อาคม บุญเลิศ, สมพงษ์ ศรีแสนปาง

ความเครียดเป็นอารมณ์ที่พบได้โดยทั่วไปในชีวิตประจำวัน โดยความเครียดในระดับปกติ ที่เกิดขึ้นสามารถทำให้เกิดการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิด ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตได้ แต่ความเครียดที่มากขึ้นในระดับที่เป็นอันตราย อาจก่อให้เกิด ผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ ส่งผลกระทบต่อการเรียน การทำงาน หรือการใช้ชีวิตประจำวัน...

กรกฎาคม - กันยายน 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)

ณัฐวรรณ นามวงศ์พิสุทธิ์, จักรกฤษ วงชมภู, ปฏิภาณ โทอินทร์, ปาณัสม์ พัฒน์ดำรงจิตร, รัฐกานต์ ศรีหาคลัง, นภัสสร ตัณฑ์กำเนิด, วนัชพร ทิพย์โยธา, วริสรา ลุวีระ, บังอรศรี จินดาวงค์

ความสุข ถือเป็นเป็นอารมณ์เชิงบวก ที่ทำให้มองเหตุการณ์ต่างๆ ในแง่ดี เกิดความ สัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลรอบข้าง เมื่อมีความสุขจะทำให้รู้สึกพอใจกับตัวเองและส่งผลต่อ การประสบความสำเร็จในชีวิต แต่นักศึกษาแพทย์ มีภาระที่ต้องแบกรับหลายอย่าง ทั้งการเรียน ในภาคทฤษฎี ปฏิบัติ รวมถึงภาระงานที่มาก ส่งผลให้เกิดความเครียด และประสิทธิภาพในการ ทำงานการลดลงอย่างมาก

กรกฎาคม - กันยายน 2565
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและปัจจัยที่สัมพันธ์กับ ระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) - ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 - สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย - สัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้เพียงพอด้านวัคซีนที่เป็น สำหรับขึ้นปฏิบัติงาน ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์ข้อมูลการลงทะเบียน งานประชุมวิชาการทางการแพทย์เพื่อการตัดสินใจเชิงธุรกิจ

กรกฎาคม - กันยายน 2565 ISSN 2697-6633
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประโยชน์ของบุหรี่อีเลคทรอนิค, กายวิภาคศาสตร์สิ่งแวดล้อม, มลภาวะในอาคาร, การวิจัย ตรวจสอบคุณภาพข้อมูลรหัสโรคหลัก ICD-10 กรณีผู้ป่วยใน, ความเครียด ความกังวล ของบุคลากรพยาบาลในสถานการณ์ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงพยาบาลศรีนครินทร์, ผลของการใช้แนวปฏิบัติการให้อาหารผ่านทางเดินอาหารต่อการได้รับพลังงานและโปรตีนในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม, การใช้เทคโนโลยี KKU Digital เพื่อลดระยะเวลารับและส่งหนังสือราชการภายในภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน, บุหรี่ไอน้ำหรือบุหรี่อีเลคทรอนิค ?, ฝนเหลือง, ภาวะวิกฤตสิ่งแวดล้อม, สิ่งที่สำคัญของโรงพยาบาลสนาม

มกราคม - มีนาคม 2565 ISSN 2697-6633

ผู้เขียน

สมชัย บวรกิตติ สุนทรี อุตตมะเวทิน สุวรรณี วิษณุโยธิน สุพัฒนา ศักดิษฐานนท์ เพ็ญแข จันทร์ราช พิษณุ อุตตมะเวทิน ศ.กิตติคุณ ดร.พญ.นิภา จรูญเวสม์ สายสมร ลีลดาภัทรกุล จันจิราภรณ์ สิงห์ครุธ ธนพล ต่อปัญญาเรือง พีระ สมบัติดี สมศักดิ์ เทียมเก่า พิทยา แต้ศิริ สายสมร พลดงนอก สมศักดิ์ เทียมเก่า อารยา อิสณพงศ์ มณเอก เบญญาภาวงษ์ รัชภูมิ กิตติวัฒนาสาร สิทธิณัฐ เตียวศิริทรัพย์ อภิวิชญ์ อภินิเวศ เกวลิน อยู่ยืน อาคม บุญเลิศ ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์ จารุวรรณ เรืองศิริปิยะกุล สุวิทย์ เดชนอก นุชนารถ สมนึก ติณณฉัตร์ ฦาชา กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ ภาณุมาศ ไกรสร เนสินี ไชยเอีย สมศักดิ์ เทียมเก่า พจน์ ศรีบุญลือ สมปอง จันทะคราม