วารสาร

ความชุกของการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก Human Papillomavirus (HPV) ในนักศึกษาหญิงมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

ความชุกของการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก Human Papillomavirus (HPV) ในนักศึกษาหญิงมหาวิทยาลัยขอนแก่น

เควิน พี่. โจนส์, แจ็กเกอลีน แคโรลีน โจนส์

Cervical cancer is the fourth most diagnosed cancer and the fourth leading cause of cancer death in women worldwide, and human papillomavirus (HPV) infection is the leading cause of cervical cancer...

กรกฎาคม - กันยายน 2567
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- The Upside of Danger - Will I Live to be 100 - เรดอน กับข้าพเจ้า - ความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการบริการพยาบาลของผู้ใช้บริการในคลินิกนอกเวลาราชการ ศูนย์หัวใจสิริกดิ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหน็อ - ความชุกของการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก Human Papillomavirus (HPV) ในนักศึกษาหญิงมหาวิทยาลัยขอนแก่น - Tirzepatide รักษาโรคอ้วนและลดน้ำหนักได้จริงหรือ ? - การยกระดับคุณภาพการบริการด้วยบัตรประชาชนใบเดียว

กรกฎาคม - กันยายน 2567 ISSN 2697-6633
การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam
Original Article

การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam

สมปอง จันทะคราม, สวลี แก่นเชียงสา

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 (COVID-19) ที่เป็นการระบาดใหญ่ โดย เริ่มจากประเทศจีนเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2562 ต่อมาได้พบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศทั่วโลก และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศโรค COVID-19 เป็นโรคระบาดที่มีจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิต จำนวนมาก จากสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียน การสอน...

เมษายน - มิถุนายน 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Are Mesothelioma Patients in Thailand Background Cases ? - The Aging Lung - การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam - ภาวะสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ประสิทธิผลของโมบายแอปพลิเคชันต่อความร่วมมือในการกินยาต้านไวรัส ในวัยรุ่นที่ติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ - ความชุกของการติดเชื้อ Human papilloma virus กลุ่มเสี่ยงสูง จีโนไทป์ 52 และความสัมพันธ์กับการพบความผิดปกติทางเซลล์วิทยา - บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19

เมษายน - มิถุนายน 2566 ISSN 2697-6633
ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565
Original Article

ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565

จันทนา ผางโคกสูง, อนุพล พาณิชย์โชติ

การจัดการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต มีความแตกต่างจากคณะอื่นๆ โดยเฉพาะ การจัดการศึกษาในชั้นคลินิกเนื่องจากมีการเรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการฝึกปฏิบัติทางคลินิก ลักษณะของหลักสูตรแบ่งออกเป็นสองช่วงชั้น คือระดับปรีคลินิกและคลินิก ซึ่งมีความแตกต่าง กันในหลายบริบท จากสถานการณ์และความเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ภาวะสุขภาพและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี...

มกราคม - มีนาคม 2566
สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19

ณัฐธวัช งามอุโฆษ, ธัญชนก บุษปฤกษ์, รัชพล โอกาศเจริญ, ศิรกาญจน์ ภัทรากรทวีวงศ์, สุธิดา นำชัยทศพล, ภูวิศ สิทธิโชติวงศ์, ปฤษฎี ธนพงศ์เดชะ, พรปวีณ์ พฤกษ์ปิติกุล, พรรษ โนนจุ้ย

มกราคม - มีนาคม 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Vaccination Strategy for COVID-19 - ใบชากับมะเร็งหลอดอาหาร - Health Concern in Electronic Cigare - สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบ ระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19 - ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 - ผลการใช้โปรแกรมลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี ถุงยางอนามัย และทัศนคติเกี่ยวกับถุงยางอนามัย ในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย - ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง - ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศกจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ในสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

มกราคม - มีนาคม 2566 ISSN 2697-6633
สัดส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาตรีต่อความต้องการชุดปฐมพยาบาลประจำหอพักส่วนกลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

สัดส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาตรีต่อความต้องการชุดปฐมพยาบาลประจำหอพักส่วนกลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณัชชนก คำพิทักษ์, พนิตา ค้าขาย, ธิดามาศ อภิธรรมบัณฑิต, สุธาสินี เหล่าศักดิ์ชัย, ณัฐวัฒน์ มณีเติม, จิตรทิวา คำจริง, อาคม บุญเลิศ, กัลยา อารยางค์กูร, วิลาวัณย์ อุ่นเรือน, ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์

การดูแลสุขภาพตนเอง (self-care) นั้นเป็นพื้นฐานขั้นแรกสุดของระบบบริการสุขภาพ ของประเทศไทยก่อนที่จะเข้ารับบริการทางสุขภาพจากสถานบริการทางสาธารณสุขในระดับที่ สูงขึ้นไป การมีชุดปฐมพยาบาลจะช่วยอำนวยความสะดวกในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สิทธิทัศน์ เบญจปฐมรงค์, ราชสาส์น สมานจิตต์, วิทวัช ฉัตรธนาธรรม, พิมรพี ปัญญานนทชัย, มะลิ มณีรัตน์, ศุภญาณกร วัฒนธร, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์, พรรษ โนนจุ้ย

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คือ โรคติดต่อที่มีการค้นพบครั้งแรกที่อู่ฮั่น ประเทศจีน โดยส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย การหายใจร่วมกับผู้ติดเชื้อที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และการสัมผัสตา จมูก ปาก ด้วยมือที่มีเชื้ออยู่...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565

ผู้เขียน

สมชัย บวรกิตติ ปาริชาติ เพียสุพรรณ์ ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ณัฐชญา บัวละคร แพงพรรณ ศรีบุญลือ รัตนาภรณ์ ศิริเกต วริศยา แก่นนาคำ ชุติมา เทียนทอง เฉลิมศรี สรสิทธิ์ Somchai Bovornkitti พิมพ์ชนก วุฒิ ปภาวรินท์ เหลืองจารุ ภัทรนันท์ ศรศิลป์ มัณธนพร ชนะภัย ผุสชา ขุนทิพย์ทอง การัณย์ สวาทพงษ์ วรินทร วาดวงศ์ วสภะ องค์ธนาวัฒน์ บังอรศรี จินดาวงค์ ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์ นิภาพรรณ ฤทธิรอด เดือนฉาย นภัทร์วิชญสกุล เตือนใจ พิทยาวัฒนชัย รัศมี ภาวะพินิจ สุดถนอม กมลเลิศ สุพัฒน์ ทัพหงษา พรนิภา หาญละคร นิภาพรรณ ฤทธิรอด ผกากรอง ลุมพิกานนท์ สุพรรณี อุพลเถียร รังสรรค์ ปุษปาคม ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า Somchai Bovornkitti