วารสาร

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)

ณัฐวรรณ นามวงศ์พิสุทธิ์, จักรกฤษ วงชมภู, ปฏิภาณ โทอินทร์, ปาณัสม์ พัฒน์ดำรงจิตร, รัฐกานต์ ศรีหาคลัง, นภัสสร ตัณฑ์กำเนิด, วนัชพร ทิพย์โยธา, วริสรา ลุวีระ, บังอรศรี จินดาวงค์

ความสุข ถือเป็นเป็นอารมณ์เชิงบวก ที่ทำให้มองเหตุการณ์ต่างๆ ในแง่ดี เกิดความ สัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลรอบข้าง เมื่อมีความสุขจะทำให้รู้สึกพอใจกับตัวเองและส่งผลต่อ การประสบความสำเร็จในชีวิต แต่นักศึกษาแพทย์ มีภาระที่ต้องแบกรับหลายอย่าง ทั้งการเรียน ในภาคทฤษฎี ปฏิบัติ รวมถึงภาระงานที่มาก ส่งผลให้เกิดความเครียด และประสิทธิภาพในการ ทำงานการลดลงอย่างมาก

กรกฎาคม - กันยายน 2565
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและปัจจัยที่สัมพันธ์กับ ระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) - ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 - สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย - สัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้เพียงพอด้านวัคซีนที่เป็น สำหรับขึ้นปฏิบัติงาน ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์ข้อมูลการลงทะเบียน งานประชุมวิชาการทางการแพทย์เพื่อการตัดสินใจเชิงธุรกิจ

กรกฎาคม - กันยายน 2565 ISSN 2697-6633
สัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียงพอเกี่ยวกับระบาดวิทยาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
Original Article

สัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียงพอเกี่ยวกับระบาดวิทยาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)

ณัฐวรา แสงวิจิตร, ชวัลวิทย์ อยู่วิทยา, ภัทรพล ขำดี, สิรวิชญ์ วรรณศรี, ก้องเกียรติ กองกาญจนะ, ชญานิศ โรจนศักดิ์โสธร, ปิยลักษณ์ ห้าวหาญ, สุชาดา ภัยหลีกลี้, ศิรินทิพย์ บุญจรัสภิญโญ

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ระบาดในหลายพื้นที่ทั่วโลก นักศึกษาแพทย์ควรมีความรู้ในการเฝ้าระวังและ รายงานโรคตามเกณฑ์ที่แพทยสภากำหนดเพื่อจัดการด้านระบาดวิทยาอย่างมีประสิทธิภาพ การ ศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียง พอเกี่ยวกับระบาดวิทยาและความรู้ทั่วไปของโรค COVID-19

เมษายน - มิถุนายน 2563
ความรู้ การรับรู้ และพฤติกรรมต่อการป้องกันการติดเชื้อ และการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก (OPD) โรงพยาบาลอุดรธานี
Original Article

ความรู้ การรับรู้ และพฤติกรรมต่อการป้องกันการติดเชื้อ และการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก (OPD) โรงพยาบาลอุดรธานี

นัชชา ลานอุ่น, วธูสิริ อาชาอภิสิทธิ์, วรปรัชญ์ พารีศรี, บุษยารัตน์ สินธนพรตะวัน, อาภาพรรณ นเรนทร์พิทักษ์, ปิยะพงษ์ คำบูชา, ธีรพล มโนศักดิ์เสรี, ศุภลักษณ์ รายยวา, สิริรัตน์ วีระเศรษฐกุล, นิติพล สีมะสิงห์, จิราวรรณ ลีลาพัฒนาพาณิชย์

องค์กรอนามัยโลกได้ประกาศว่าเชื้อไวรัสโคโรนาสาย พันธุ์ใหม่ 2019 มีการแพร่ระบาดใหญ่ไปทั่วโลก ผู้จัดทำจึงสนใจที่จะศึกษาความรู้ การรับรู้ และพฤติกรรมต่อการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ในผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลอุดรธานี

เมษายน - มิถุนายน 2563
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ความรู้ การรับรู้ และพฤติกรรมต่อการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก (OPD) โรงพยาบาลอุดรธานี, สัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียงพอเกี่ยวกับระบาดวิทยาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19), สัดส่วนของผู้มารับบริการในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ที่มีความรู้เพียงพอในการใช้หน้ากากอนามัย, การดำเนินตามโครงการส่งยาถึงบ้าน ลดความเสี่ยง เลี่ยงโควิด-19 โรงพยาบาลศรีนครินทร์, การจัดการระบบบริการผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันและทางด่วนโรคหลอดเลือดสมองในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 ฯ

เมษายน - มิถุนายน 2563 ISSN 2697-6633