วารสาร

ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก
นานาสาระ

ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมซัก (epilepsy) เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความซุกประมาณ 7 คนใน 1000 คน พบได้ทุกเพศทุกวัย ผู้ป่วยโรคลมชักนั้นประสบปัญหาในการเข้าถึงการรักษา จากการ ศึกษาขององค์การอนามัยโลกพบว่าผู้ป่วยโรคลมชักในประเทศไทยเพียง ร้อยละ 70 เท่านั้นที่ เข้าถึงการรักษา...

เมษายน - มิถุนายน 2567
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Sarcoidosis ทัันยุุค - ความเป็นมาของอายุุรศาสตร์ไทย - ผลของการพัฒนาโปรแกรมการบริหารปอดผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ในผู้ที่เคยติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 - การป้องกันปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ - การป้องกันการติดเชื้อทางเดินปัสสาวัที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนปัสสาวะ - ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

เมษายน - มิถุนายน 2567 ISSN 2697-6633
บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19
นานาสาระ

บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19

สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล, สมศักดิ์ เทียมเก่า, สุณี เลิศสินอุดม, ในนามของกลุ่มวิจัยโรคลม ชักแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ พบได้ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษาและทุกเศรษฐานะ ซึ่งผลกระทบของโรคลมชักส่งผลต่อ ผู้ป่วยในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี และผลกระทบดังกล่าว ยังส่งผลต่อสมาชิกในครอบครัว เมื่อเกิดขึ้นในทุกครอบครัวของผู้ป่วยโรค ลมชัก ผลกระทบจะขยายวงกว้างต่อออกไปในชุมชน สังคมและประเทศ

เมษายน - มิถุนายน 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Are Mesothelioma Patients in Thailand Background Cases ? - The Aging Lung - การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam - ภาวะสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ประสิทธิผลของโมบายแอปพลิเคชันต่อความร่วมมือในการกินยาต้านไวรัส ในวัยรุ่นที่ติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ - ความชุกของการติดเชื้อ Human papilloma virus กลุ่มเสี่ยงสูง จีโนไทป์ 52 และความสัมพันธ์กับการพบความผิดปกติทางเซลล์วิทยา - บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19

เมษายน - มิถุนายน 2566 ISSN 2697-6633

ผู้เขียน

สุนทรี อุตตมะเวทิน สุวรรณี วิษณุโยธิน สุพัฒนา ศักดิษฐานนท์ เพ็ญแข จันทร์ราช พิษณุ อุตตมะเวทิน สมปอง จันทะคราม สวลี แก่นเชียงสา อารยา อิสณพงศ์ มณเอก เบญญาภาวงษ์ รัชภูมิ กิตติวัฒนาสาร สิทธิณัฐ เตียวศิริทรัพย์ อภิวิชญ์ อภินิเวศ เกวลิน อยู่ยืน อาคม บุญเลิศ ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์ จรัสพร สอนสี อธิบดี มีสิงห์ Somchai Bovornkitti เทพิน จันทราบุตร ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า สุดถนอม กมลเลิศ สุพัฒน์ ทัพหงษา พรนิภา หาญละคร นิภาพรรณ ฤทธิรอด ผกากรอง ลุมพิกานนท์ กิตติมา ดงอุทิศ วีนณ์ นาคทอง ธีรภัทร จินตนธรรม ธนารีย์ ตั้งตรงไพโจน์ สาวิกา จำปาเตีย วรวิทย์ พลอยสระน้อย ธีระ ฤทธิรอด