วารสาร

ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศก จากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักในสถานการณ์การระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศก จากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักในสถานการณ์การระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ปาริชาติ เพียสุพรรณ์, ณัฐชญา บัวละคร, เฉลิมศรี สรสิทธิ์, อัมรา ศิริทองสุข, พะยอม บุญสุด,ศรพิศ พรมผิว, จันทร์เพ็ญ ปริตรวา

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคอุบัติใหม่ มีการระบาดมาจากประเทศจีน ตั้งแต่ เดือนธันวาคม 2562 ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงจะพบภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน (ARDS) ทำให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนและเสียชีวิตในที่สุด...

มกราคม - มีนาคม 2566
ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
Original Article

ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง

รัตนาภรณ์ ศิริเกต, ปาริชาติ เพียสุพรรณ์, ศรีเวียง ไพโรจน์กุล

ในกลุ่มวัยสูงอายุแม้มีอายุยืนยาวขึ้นแต่ประสบปัญหาเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคสมองเสื่อมซึ่งเป็นโรคของผู้สูงอายุ องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2573 จะมีผู้ป่วยสมองเสื่อมเพิ่มขึ้นเป็น 76 ล้านคน...

มกราคม - มีนาคม 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Vaccination Strategy for COVID-19 - ใบชากับมะเร็งหลอดอาหาร - Health Concern in Electronic Cigare - สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบ ระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19 - ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 - ผลการใช้โปรแกรมลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี ถุงยางอนามัย และทัศนคติเกี่ยวกับถุงยางอนามัย ในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย - ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง - ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศกจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ในสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

มกราคม - มีนาคม 2566 ISSN 2697-6633
ผลลัพธ์การใช้โปรแกรมการจัดการอาการหายใจลำบากในผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
Original Article

ผลลัพธ์การใช้โปรแกรมการจัดการอาการหายใจลำบากในผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง

ปาริชาติ เพียสุพรรณ์, ศรีเวียง ไพโรจน์กุล, ณัฐชญา บัวละคร, แพงพรรณ ศรีบุญลือ, รัตนาภรณ์ ศิริเกต, วริศยา แก่นนาคำ, ชุติมา เทียนทอง, เฉลิมศรี สรสิทธิ์

อาการหายใจลำบาก พบบ่อยในผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้รับ การดูแลแบบประคับประคอง ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ได้พัฒนาโปรแกรมการ จัดการอาการหายใจลำบากผู้ป่วยระยะท้าย มาใช้อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555- 2559 โดย มีแผนการดูแล มีคู่มือ และ comfort kit สำหรับผู้ป่วยระยะท้ายที่มีอาการหายใจลำบาก...

ตุลาคม - ธันวาคม 2563
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผลลัพธ์การใช้โปรแกรมการจัดการอาการหายใจลำบากในผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง, ผลของการให้ความรู้ผู้ดูแลต่อความรู้เรื่องโรค การปฏิบัติในการดูแลและความพึงพอใจของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรัง ที่เข้ารักษาในโรงพยาบาลศรีนครินทร์, การศึกษาค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยที่นอนในโรงพยาบาลนานเกินกว่า 30 วัน และค่าใช้จ่ายของกลุ่มผู้ป่วยที่มีค่าใช้จ่ายมากกว่า 50,000 บาทต่อครั้ง ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง...

ตุลาคม - ธันวาคม 2563 ISSN 2697-6633