วารสาร

บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19
นานาสาระ

บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19

สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล, สมศักดิ์ เทียมเก่า, สุณี เลิศสินอุดม, ในนามของกลุ่มวิจัยโรคลม ชักแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ พบได้ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษาและทุกเศรษฐานะ ซึ่งผลกระทบของโรคลมชักส่งผลต่อ ผู้ป่วยในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี และผลกระทบดังกล่าว ยังส่งผลต่อสมาชิกในครอบครัว เมื่อเกิดขึ้นในทุกครอบครัวของผู้ป่วยโรค ลมชัก ผลกระทบจะขยายวงกว้างต่อออกไปในชุมชน สังคมและประเทศ

เมษายน - มิถุนายน 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Are Mesothelioma Patients in Thailand Background Cases ? - The Aging Lung - การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam - ภาวะสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ประสิทธิผลของโมบายแอปพลิเคชันต่อความร่วมมือในการกินยาต้านไวรัส ในวัยรุ่นที่ติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ - ความชุกของการติดเชื้อ Human papilloma virus กลุ่มเสี่ยงสูง จีโนไทป์ 52 และความสัมพันธ์กับการพบความผิดปกติทางเซลล์วิทยา - บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19

เมษายน - มิถุนายน 2566 ISSN 2697-6633
สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19

ณัฐธวัช งามอุโฆษ, ธัญชนก บุษปฤกษ์, รัชพล โอกาศเจริญ, ศิรกาญจน์ ภัทรากรทวีวงศ์, สุธิดา นำชัยทศพล, ภูวิศ สิทธิโชติวงศ์, ปฤษฎี ธนพงศ์เดชะ, พรปวีณ์ พฤกษ์ปิติกุล, พรรษ โนนจุ้ย

มกราคม - มีนาคม 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Vaccination Strategy for COVID-19 - ใบชากับมะเร็งหลอดอาหาร - Health Concern in Electronic Cigare - สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบ ระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19 - ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 - ผลการใช้โปรแกรมลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี ถุงยางอนามัย และทัศนคติเกี่ยวกับถุงยางอนามัย ในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย - ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง - ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศกจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ในสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

มกราคม - มีนาคม 2566 ISSN 2697-6633
พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สิทธิทัศน์ เบญจปฐมรงค์, ราชสาส์น สมานจิตต์, วิทวัช ฉัตรธนาธรรม, พิมรพี ปัญญานนทชัย, มะลิ มณีรัตน์, ศุภญาณกร วัฒนธร, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์, พรรษ โนนจุ้ย

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คือ โรคติดต่อที่มีการค้นพบครั้งแรกที่อู่ฮั่น ประเทศจีน โดยส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย การหายใจร่วมกับผู้ติดเชื้อที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และการสัมผัสตา จมูก ปาก ด้วยมือที่มีเชื้ออยู่...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- สัดส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อคุณภาพของอาหารในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการ ทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 - พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - สัดส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาตรีต่อความต้องการชุดปฐมพยาบาล ประจำหอพักส่วนกลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ตุลาคม - ธันวาคม 2565 ISSN 2697-6633
ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
Original Article

ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19

พีรพล มหาสันติปิยะ, กิตติพงศ์ สุวรรณเลิศ, สิริกร บุพศิริ, อดิศวร เชียร์สุขสันต์, อริยาภรณ์ แก้วเวียงเดช, ศุภาวรรณ สุพรรณ, พรพิพัฒน์ อุทธิเสน, อาคม บุญเลิศ, สมพงษ์ ศรีแสนปาง

ความเครียดเป็นอารมณ์ที่พบได้โดยทั่วไปในชีวิตประจำวัน โดยความเครียดในระดับปกติ ที่เกิดขึ้นสามารถทำให้เกิดการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิด ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตได้ แต่ความเครียดที่มากขึ้นในระดับที่เป็นอันตราย อาจก่อให้เกิด ผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ ส่งผลกระทบต่อการเรียน การทำงาน หรือการใช้ชีวิตประจำวัน...

กรกฎาคม - กันยายน 2565
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและปัจจัยที่สัมพันธ์กับ ระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) - ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 - สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย - สัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้เพียงพอด้านวัคซีนที่เป็น สำหรับขึ้นปฏิบัติงาน ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์ข้อมูลการลงทะเบียน งานประชุมวิชาการทางการแพทย์เพื่อการตัดสินใจเชิงธุรกิจ

กรกฎาคม - กันยายน 2565 ISSN 2697-6633
การเตรียมความพร้อมการตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคโควิด-19 โดยประยุกต์ใช้ชุดตรวจแบบรวดเร็วชนิด LAMP
Innovation

การเตรียมความพร้อมการตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคโควิด-19 โดยประยุกต์ใช้ชุดตรวจแบบรวดเร็วชนิด LAMP

ประจวบ ชัยมณี, พิมใจ อนันตา, สุปราณี พันธุ์ธนวิบูลย์

การตรวจวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องแม่นยำรวดเร็วและมีราคาที่ เข้าถึงได้ มีความสำคัญจำเป็นในการจัดการกับโรคติดเชื้อโดยเฉพาะโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ เช่น โรคโควิด-19 ที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขของทุกประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย Loop mediated isothermal amplification (LAMP) เป็นวิธีการตรวจวินิจฉัยแบบรวดเร็วที่ได้รับความ นิยมเนื่องจากทำได้ง่ายและมีความแม่นยำ...

มกราคม - มีนาคม 2564

ผู้เขียน

ศ.นพ.สมชัย บวรกิตติ พิมพ์ชนก วุฒิ ปภาวรินท์ เหลืองจารุ ภัทรนันท์ ศรศิลป์ มัณธนพร ชนะภัย ผุสชา ขุนทิพย์ทอง การัณย์ สวาทพงษ์ วรินทร วาดวงศ์ วสภะ องค์ธนาวัฒน์ บังอรศรี จินดาวงค์ ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์ อรรถพล ชีพสัตยากร หทัยกาญจน์ จันทะเสน สิทธการย์ วันสุพงศ์ ณัฐวรา แสงวิจิตร ชวัลวิทย์ อยู่วิทยา ภัทรพล ขำดี สิรวิชญ์ วรรณศรี ก้องเกียรติ กองกาญจนะ ชญานิศ โรจนศักดิ์โสธร ปิยลักษณ์ ห้าวหาญ สุชาดา ภัยหลีกลี้ ศิรินทิพย์ บุญจรัสภิญโญ สุชญา พันศิริ สุปรียา ราชสีห์ กฤษฏา พันธ์เดช ปริญญาพร มะธิปะโน มณีพรรณ์ เหล่าโพธิ์ศรี นันทพร จิตพิมลมาศ สุนันทา รินทวุฒิ กิตติมา ดงอุทิศ Somchai Bovornkitti Somchai Bovornkitti Somsak Tiamkao ศ.กิตติคุณ พญ.นิภา จรูญเวสม์