วารสาร

ผลของการพัฒนาโปรแกรมการบริหารปอดผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ในผู้ที่เคยติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019
Original Article

ผลของการพัฒนาโปรแกรมการบริหารปอดผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ในผู้ที่เคยติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019

สุชญา พันศิริ, สุปรียา ราชสีห์, กฤษฏา พันธ์เดช,ปริญญาพร มะธิปะโน, มณีพรรณ์ เหล่าโพธิ์ศรี, นันทพร จิตพิมลมาศ

สถานการณ์การระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 ระลอก 3 มีความรุนแรงกว่าที่ผ่านๆมา ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตแต่ละวันเป็นจำนวนมาก กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัวเกี่ยวกับปอด เช่น โรคปอด หอบหืด รวมทั้งผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคอ้วน ยังคงเป็นกลุ่มเสี่ยงลำดับต้นๆ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)

ณัฐวรรณ นามวงศ์พิสุทธิ์, จักรกฤษ วงชมภู, ปฏิภาณ โทอินทร์, ปาณัสม์ พัฒน์ดำรงจิตร, รัฐกานต์ ศรีหาคลัง, นภัสสร ตัณฑ์กำเนิด, วนัชพร ทิพย์โยธา, วริสรา ลุวีระ, บังอรศรี จินดาวงค์

ความสุข ถือเป็นเป็นอารมณ์เชิงบวก ที่ทำให้มองเหตุการณ์ต่างๆ ในแง่ดี เกิดความ สัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลรอบข้าง เมื่อมีความสุขจะทำให้รู้สึกพอใจกับตัวเองและส่งผลต่อ การประสบความสำเร็จในชีวิต แต่นักศึกษาแพทย์ มีภาระที่ต้องแบกรับหลายอย่าง ทั้งการเรียน ในภาคทฤษฎี ปฏิบัติ รวมถึงภาระงานที่มาก ส่งผลให้เกิดความเครียด และประสิทธิภาพในการ ทำงานการลดลงอย่างมาก

กรกฎาคม - กันยายน 2565