วารสาร

สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19

ณัฐธวัช งามอุโฆษ, ธัญชนก บุษปฤกษ์, รัชพล โอกาศเจริญ, ศิรกาญจน์ ภัทรากรทวีวงศ์, สุธิดา นำชัยทศพล, ภูวิศ สิทธิโชติวงศ์, ปฤษฎี ธนพงศ์เดชะ, พรปวีณ์ พฤกษ์ปิติกุล, พรรษ โนนจุ้ย

มกราคม - มีนาคม 2566
สัดส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาตรีต่อความต้องการชุดปฐมพยาบาลประจำหอพักส่วนกลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

สัดส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาตรีต่อความต้องการชุดปฐมพยาบาลประจำหอพักส่วนกลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณัชชนก คำพิทักษ์, พนิตา ค้าขาย, ธิดามาศ อภิธรรมบัณฑิต, สุธาสินี เหล่าศักดิ์ชัย, ณัฐวัฒน์ มณีเติม, จิตรทิวา คำจริง, อาคม บุญเลิศ, กัลยา อารยางค์กูร, วิลาวัณย์ อุ่นเรือน, ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์

การดูแลสุขภาพตนเอง (self-care) นั้นเป็นพื้นฐานขั้นแรกสุดของระบบบริการสุขภาพ ของประเทศไทยก่อนที่จะเข้ารับบริการทางสุขภาพจากสถานบริการทางสาธารณสุขในระดับที่ สูงขึ้นไป การมีชุดปฐมพยาบาลจะช่วยอำนวยความสะดวกในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อคุณภาพของอาหาร ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

สัดส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อคุณภาพของอาหาร ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

พิมพ์ชนก วุฒิ, ปภาวรินท์ เหลืองจารุ, ภัทรนันท์ ศรศิลป์, มัณธนพร ชนะภัย, ผุสชา ขุนทิพย์ทอง, การัณย์ สวาทพงษ์, วรินทร วาดวงศ์, วสภะ องค์ธนาวัฒน์, บังอรศรี จินดาวงค์, ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์

อาหาร เป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต เมื่อร่างกายเจ็บป่วย ผู้ป่วยต้องการสารอาหาร และพลังงานมากขึ้น แต่สภาวะโรคกลับทำให้เบื่ออาหาร รับประทานอาหารได้ลดลง หากได้ รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอจะเกิดภาวะทุพโภชนาการได้ในที่สุด ซึ่งพบได้บ่อยใน ผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาลทุกช่วงอายุ ความชุกร้อยละ 20-504 ในประเทศไทยพบความชุกเฉลี่ย ร้อยละ 40...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้เพียงพอด้านวัคซีนที่จำเป็น สำหรับขึ้นปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

สัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้เพียงพอด้านวัคซีนที่จำเป็น สำหรับขึ้นปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

ภูมิ วิสูตรานุกูล, ภาสุข ส่งเสริม, ภูเบศร์ นากดี, วงศ์ขัติยะ ขัติยะวงศ์, สมปราชญ์ ชินวานิชย์เจริญ, สุภัชชา ศิริรักษ์, ศิรินทิพย์ บุญจรัสภิญโญ, วริษา สุนทรวินิต

ภูมิ วิสูตรานุกูล, ภาสุข ส่งเสริม, ภูเบศร์ นากดี, วงศ์ขัติยะ ขัติยะวงศ์, สมปราชญ์ ชินวานิชย์เจริญ, สุภัชชา ศิริรักษ์, ศิรินทิพย์ บุญจรัสภิญโญ, วริษา สุนทรวินิต

กรกฎาคม - กันยายน 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย

Proportion of Clinical Medical Students with Accurate Knowledge About COVID-19 Vaccination in Thailand

ในช่วงการระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่งส่งผลกระทบเป็นอย่างมากกับสังคมในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว รวมไปถึงระบบสาธารณสุข วัคซีนสำหรับไวรัส COVID-19 จึงถือเป็นหัวใจสำคัญในการแก้ปัญหาสถานการณ์การระบาด ดังนั้นจึงปฏิเสธไม่ได้ว่าการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 และตัวไวรัส COVID-19 นั้นจำเป็นอย่างยิ่งทั้งกับบุคคล ทั่วไปและบุคคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักศึกษาแพทย์ที่กำลังศึกษา...

กรกฎาคม - กันยายน 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)

ณัฐวรรณ นามวงศ์พิสุทธิ์, จักรกฤษ วงชมภู, ปฏิภาณ โทอินทร์, ปาณัสม์ พัฒน์ดำรงจิตร, รัฐกานต์ ศรีหาคลัง, นภัสสร ตัณฑ์กำเนิด, วนัชพร ทิพย์โยธา, วริสรา ลุวีระ, บังอรศรี จินดาวงค์

ความสุข ถือเป็นเป็นอารมณ์เชิงบวก ที่ทำให้มองเหตุการณ์ต่างๆ ในแง่ดี เกิดความ สัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลรอบข้าง เมื่อมีความสุขจะทำให้รู้สึกพอใจกับตัวเองและส่งผลต่อ การประสบความสำเร็จในชีวิต แต่นักศึกษาแพทย์ มีภาระที่ต้องแบกรับหลายอย่าง ทั้งการเรียน ในภาคทฤษฎี ปฏิบัติ รวมถึงภาระงานที่มาก ส่งผลให้เกิดความเครียด และประสิทธิภาพในการ ทำงานการลดลงอย่างมาก

กรกฎาคม - กันยายน 2565