วารสาร

ศัพท์สับสน: Long COVID-19 และ Long-COVID-19
จดหมายถึงบรรณาธิการ

ศัพท์สับสน: Long COVID-19 และ Long-COVID-19

สมชัย บวรกิตติ พ.ด., Hon.MRCP, FRCP, FRACP, Hon.FACP

องค์การอนามัยโลกตั้งซื่อโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ที่พบในเมืองวูฮัน ประเทศจีน เมื่อ ค.ศ. ๒๐๑๙ ว่า coronavirus disease-2019 ใช้ชื่อย่อว่า COVID-19 กรณีผู้ป่วย COVID-19 รายที่การดำเนินโรคยืดเยื้อกว่ารายทั่วไป ที่อาจเกิดจากมีสาเหตุร่วม จะเรียกโดยภาษาทั่วไปว่า Long COVID-19 แต่ได้พบว่ามีการดำเนินโรคอีกแบบหนึ่งที่ เรียกว่า Post-COVID-19 syndrome หรือ Long-COVID -19...

เมษายน - มิถุนายน 2568
ผลของการพัฒนาโปรแกรมการบริหารปอดผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ในผู้ที่เคยติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019
Original Article

ผลของการพัฒนาโปรแกรมการบริหารปอดผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ในผู้ที่เคยติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019

สุชญา พันศิริ, สุปรียา ราชสีห์, กฤษฏา พันธ์เดช,ปริญญาพร มะธิปะโน, มณีพรรณ์ เหล่าโพธิ์ศรี, นันทพร จิตพิมลมาศ

สถานการณ์การระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 ระลอก 3 มีความรุนแรงกว่าที่ผ่านๆมา ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตแต่ละวันเป็นจำนวนมาก กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัวเกี่ยวกับปอด เช่น โรคปอด หอบหืด รวมทั้งผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคอ้วน ยังคงเป็นกลุ่มเสี่ยงลำดับต้นๆ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam
Original Article

การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam

สมปอง จันทะคราม, สวลี แก่นเชียงสา

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 (COVID-19) ที่เป็นการระบาดใหญ่ โดย เริ่มจากประเทศจีนเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2562 ต่อมาได้พบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศทั่วโลก และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศโรค COVID-19 เป็นโรคระบาดที่มีจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิต จำนวนมาก จากสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียน การสอน...

เมษายน - มิถุนายน 2566
สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19

ณัฐธวัช งามอุโฆษ, ธัญชนก บุษปฤกษ์, รัชพล โอกาศเจริญ, ศิรกาญจน์ ภัทรากรทวีวงศ์, สุธิดา นำชัยทศพล, ภูวิศ สิทธิโชติวงศ์, ปฤษฎี ธนพงศ์เดชะ, พรปวีณ์ พฤกษ์ปิติกุล, พรรษ โนนจุ้ย

มกราคม - มีนาคม 2566
Vaccination Strategy for COVID-19
Editorial

Vaccination Strategy for COVID-19

Somchai Bovornkitti, Somsak Tiamkao

The main measure for combating the ongoing pandemic is to develop vaccines to create specific immunity to the severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 (SARS-CoV-2), which causes coronavirus disease 2019 (COVID-19), in order to stop its transmission.

มกราคม - มีนาคม 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Vaccination Strategy for COVID-19 - ใบชากับมะเร็งหลอดอาหาร - Health Concern in Electronic Cigare - สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบ ระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19 - ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 - ผลการใช้โปรแกรมลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี ถุงยางอนามัย และทัศนคติเกี่ยวกับถุงยางอนามัย ในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย - ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง - ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศกจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ในสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

มกราคม - มีนาคม 2566 ISSN 2697-6633
พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สิทธิทัศน์ เบญจปฐมรงค์, ราชสาส์น สมานจิตต์, วิทวัช ฉัตรธนาธรรม, พิมรพี ปัญญานนทชัย, มะลิ มณีรัตน์, ศุภญาณกร วัฒนธร, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์, พรรษ โนนจุ้ย

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คือ โรคติดต่อที่มีการค้นพบครั้งแรกที่อู่ฮั่น ประเทศจีน โดยส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย การหายใจร่วมกับผู้ติดเชื้อที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และการสัมผัสตา จมูก ปาก ด้วยมือที่มีเชื้ออยู่...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย

Proportion of Clinical Medical Students with Accurate Knowledge About COVID-19 Vaccination in Thailand

ในช่วงการระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่งส่งผลกระทบเป็นอย่างมากกับสังคมในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว รวมไปถึงระบบสาธารณสุข วัคซีนสำหรับไวรัส COVID-19 จึงถือเป็นหัวใจสำคัญในการแก้ปัญหาสถานการณ์การระบาด ดังนั้นจึงปฏิเสธไม่ได้ว่าการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 และตัวไวรัส COVID-19 นั้นจำเป็นอย่างยิ่งทั้งกับบุคคล ทั่วไปและบุคคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักศึกษาแพทย์ที่กำลังศึกษา...

กรกฎาคม - กันยายน 2565
ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
Original Article

ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19

พีรพล มหาสันติปิยะ, กิตติพงศ์ สุวรรณเลิศ, สิริกร บุพศิริ, อดิศวร เชียร์สุขสันต์, อริยาภรณ์ แก้วเวียงเดช, ศุภาวรรณ สุพรรณ, พรพิพัฒน์ อุทธิเสน, อาคม บุญเลิศ, สมพงษ์ ศรีแสนปาง

ความเครียดเป็นอารมณ์ที่พบได้โดยทั่วไปในชีวิตประจำวัน โดยความเครียดในระดับปกติ ที่เกิดขึ้นสามารถทำให้เกิดการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิด ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตได้ แต่ความเครียดที่มากขึ้นในระดับที่เป็นอันตราย อาจก่อให้เกิด ผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ ส่งผลกระทบต่อการเรียน การทำงาน หรือการใช้ชีวิตประจำวัน...

กรกฎาคม - กันยายน 2565

ผู้เขียน

นภสินธุ์ ไชยเสนา ยุวดี ลาดเหลา ศิริพร นามมา กาญจนา แก้วมงคล เดือนเพ็ญ ศรีขา รานี แสงจันทร์นวล ศ.นพ.สมชัย บวรกิตติ ณัฐธวัช งามอุโฆษ ธัญชนก บุษปฤกษ์ รัชพล โอกาศเจริญ ศิรกาญจน์ ภัทรากรทวีวงศ์ สุธิดา นำชัยทศพล ภูวิศ สิทธิโชติวงศ์ ปฤษฎี ธนพงศ์เดชะ พรปวีณ์ พฤกษ์ปิติกุล พรรษ โนนจุ้ย กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ ภาณุมาศ ไกรสร เนสินี ไชยเอีย สมศักดิ์ เทียมเก่า สมศักดิ์ เทียมเก่า Somchai Bovornkitti ณัฐวรา แสงวิจิตร ชวัลวิทย์ อยู่วิทยา ภัทรพล ขำดี สิรวิชญ์ วรรณศรี ก้องเกียรติ กองกาญจนะ ชญานิศ โรจนศักดิ์โสธร ปิยลักษณ์ ห้าวหาญ สุชาดา ภัยหลีกลี้ ศิรินทิพย์ บุญจรัสภิญโญ Somsak Tiamkao Somchai Bovornkitti Somchai Bovornkitti นายแพทย์สมชัย เจียรนัยศิลป์