วารสาร

บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19
นานาสาระ

บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19

สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล, สมศักดิ์ เทียมเก่า, สุณี เลิศสินอุดม, ในนามของกลุ่มวิจัยโรคลม ชักแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ พบได้ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษาและทุกเศรษฐานะ ซึ่งผลกระทบของโรคลมชักส่งผลต่อ ผู้ป่วยในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี และผลกระทบดังกล่าว ยังส่งผลต่อสมาชิกในครอบครัว เมื่อเกิดขึ้นในทุกครอบครัวของผู้ป่วยโรค ลมชัก ผลกระทบจะขยายวงกว้างต่อออกไปในชุมชน สังคมและประเทศ

เมษายน - มิถุนายน 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Are Mesothelioma Patients in Thailand Background Cases ? - The Aging Lung - การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam - ภาวะสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ประสิทธิผลของโมบายแอปพลิเคชันต่อความร่วมมือในการกินยาต้านไวรัส ในวัยรุ่นที่ติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ - ความชุกของการติดเชื้อ Human papilloma virus กลุ่มเสี่ยงสูง จีโนไทป์ 52 และความสัมพันธ์กับการพบความผิดปกติทางเซลล์วิทยา - บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19

เมษายน - มิถุนายน 2566 ISSN 2697-6633
สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19

ณัฐธวัช งามอุโฆษ, ธัญชนก บุษปฤกษ์, รัชพล โอกาศเจริญ, ศิรกาญจน์ ภัทรากรทวีวงศ์, สุธิดา นำชัยทศพล, ภูวิศ สิทธิโชติวงศ์, ปฤษฎี ธนพงศ์เดชะ, พรปวีณ์ พฤกษ์ปิติกุล, พรรษ โนนจุ้ย

มกราคม - มีนาคม 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Vaccination Strategy for COVID-19 - ใบชากับมะเร็งหลอดอาหาร - Health Concern in Electronic Cigare - สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบ ระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19 - ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 - ผลการใช้โปรแกรมลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี ถุงยางอนามัย และทัศนคติเกี่ยวกับถุงยางอนามัย ในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย - ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง - ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศกจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ในสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

มกราคม - มีนาคม 2566 ISSN 2697-6633
พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สิทธิทัศน์ เบญจปฐมรงค์, ราชสาส์น สมานจิตต์, วิทวัช ฉัตรธนาธรรม, พิมรพี ปัญญานนทชัย, มะลิ มณีรัตน์, ศุภญาณกร วัฒนธร, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์, พรรษ โนนจุ้ย

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คือ โรคติดต่อที่มีการค้นพบครั้งแรกที่อู่ฮั่น ประเทศจีน โดยส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย การหายใจร่วมกับผู้ติดเชื้อที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และการสัมผัสตา จมูก ปาก ด้วยมือที่มีเชื้ออยู่...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- สัดส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อคุณภาพของอาหารในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการ ทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 - พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - สัดส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาตรีต่อความต้องการชุดปฐมพยาบาล ประจำหอพักส่วนกลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ตุลาคม - ธันวาคม 2565 ISSN 2697-6633
ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
Original Article

ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19

พีรพล มหาสันติปิยะ, กิตติพงศ์ สุวรรณเลิศ, สิริกร บุพศิริ, อดิศวร เชียร์สุขสันต์, อริยาภรณ์ แก้วเวียงเดช, ศุภาวรรณ สุพรรณ, พรพิพัฒน์ อุทธิเสน, อาคม บุญเลิศ, สมพงษ์ ศรีแสนปาง

ความเครียดเป็นอารมณ์ที่พบได้โดยทั่วไปในชีวิตประจำวัน โดยความเครียดในระดับปกติ ที่เกิดขึ้นสามารถทำให้เกิดการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิด ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตได้ แต่ความเครียดที่มากขึ้นในระดับที่เป็นอันตราย อาจก่อให้เกิด ผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ ส่งผลกระทบต่อการเรียน การทำงาน หรือการใช้ชีวิตประจำวัน...

กรกฎาคม - กันยายน 2565
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและปัจจัยที่สัมพันธ์กับ ระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) - ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 - สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย - สัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้เพียงพอด้านวัคซีนที่เป็น สำหรับขึ้นปฏิบัติงาน ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์ข้อมูลการลงทะเบียน งานประชุมวิชาการทางการแพทย์เพื่อการตัดสินใจเชิงธุรกิจ

กรกฎาคม - กันยายน 2565 ISSN 2697-6633
การเตรียมความพร้อมการตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคโควิด-19 โดยประยุกต์ใช้ชุดตรวจแบบรวดเร็วชนิด LAMP
Innovation

การเตรียมความพร้อมการตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคโควิด-19 โดยประยุกต์ใช้ชุดตรวจแบบรวดเร็วชนิด LAMP

ประจวบ ชัยมณี, พิมใจ อนันตา, สุปราณี พันธุ์ธนวิบูลย์

การตรวจวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องแม่นยำรวดเร็วและมีราคาที่ เข้าถึงได้ มีความสำคัญจำเป็นในการจัดการกับโรคติดเชื้อโดยเฉพาะโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ เช่น โรคโควิด-19 ที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขของทุกประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย Loop mediated isothermal amplification (LAMP) เป็นวิธีการตรวจวินิจฉัยแบบรวดเร็วที่ได้รับความ นิยมเนื่องจากทำได้ง่ายและมีความแม่นยำ...

มกราคม - มีนาคม 2564