วารสาร

ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศก จากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักในสถานการณ์การระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศก จากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักในสถานการณ์การระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ปาริชาติ เพียสุพรรณ์, ณัฐชญา บัวละคร, เฉลิมศรี สรสิทธิ์, อัมรา ศิริทองสุข, พะยอม บุญสุด,ศรพิศ พรมผิว, จันทร์เพ็ญ ปริตรวา

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคอุบัติใหม่ มีการระบาดมาจากประเทศจีน ตั้งแต่ เดือนธันวาคม 2562 ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงจะพบภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน (ARDS) ทำให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนและเสียชีวิตในที่สุด...

มกราคม - มีนาคม 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Vaccination Strategy for COVID-19 - ใบชากับมะเร็งหลอดอาหาร - Health Concern in Electronic Cigare - สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบ ระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19 - ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 - ผลการใช้โปรแกรมลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี ถุงยางอนามัย และทัศนคติเกี่ยวกับถุงยางอนามัย ในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย - ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง - ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศกจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ในสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

มกราคม - มีนาคม 2566 ISSN 2697-6633
พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สิทธิทัศน์ เบญจปฐมรงค์, ราชสาส์น สมานจิตต์, วิทวัช ฉัตรธนาธรรม, พิมรพี ปัญญานนทชัย, มะลิ มณีรัตน์, ศุภญาณกร วัฒนธร, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์, พรรษ โนนจุ้ย

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คือ โรคติดต่อที่มีการค้นพบครั้งแรกที่อู่ฮั่น ประเทศจีน โดยส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย การหายใจร่วมกับผู้ติดเชื้อที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และการสัมผัสตา จมูก ปาก ด้วยมือที่มีเชื้ออยู่...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- สัดส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อคุณภาพของอาหารในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการ ทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 - พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - สัดส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาตรีต่อความต้องการชุดปฐมพยาบาล ประจำหอพักส่วนกลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ตุลาคม - ธันวาคม 2565 ISSN 2697-6633
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประโยชน์ของบุหรี่อีเลคทรอนิค, กายวิภาคศาสตร์สิ่งแวดล้อม, มลภาวะในอาคาร, การวิจัย ตรวจสอบคุณภาพข้อมูลรหัสโรคหลัก ICD-10 กรณีผู้ป่วยใน, ความเครียด ความกังวล ของบุคลากรพยาบาลในสถานการณ์ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงพยาบาลศรีนครินทร์, ผลของการใช้แนวปฏิบัติการให้อาหารผ่านทางเดินอาหารต่อการได้รับพลังงานและโปรตีนในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม, การใช้เทคโนโลยี KKU Digital เพื่อลดระยะเวลารับและส่งหนังสือราชการภายในภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน, บุหรี่ไอน้ำหรือบุหรี่อีเลคทรอนิค ?, ฝนเหลือง, ภาวะวิกฤตสิ่งแวดล้อม, สิ่งที่สำคัญของโรงพยาบาลสนาม

มกราคม - มีนาคม 2565 ISSN 2697-6633
ประสิทธิภาพของตู้ฉายแสงยูวีซีในการทำลายเชื้อไวรัสที่ปนเปื้อนหน้ากากอนามัยที่นำกลับมาใช้ซํ้า
Innovation

ประสิทธิภาพของตู้ฉายแสงยูวีซีในการทำลายเชื้อไวรัสที่ปนเปื้อนหน้ากากอนามัยที่นำกลับมาใช้ซํ้า

ยิ่งฤทธิ์ จันทรสุข, สายธาร ปะปาลี, วิเศษ นามวาท, สุปราณี พันธุ์ธนวิบูลย์

การระบาดของเชื้อไวรัสอุบัติใหม่โควิด-19 ที่มีผลต่อทุก ประเทศทั่วโลก ทำให้หน้ากากอนามัยซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดิน หายใจไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งานที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างฉับพลัน โดยเฉพาะในกลุ่มบุคลากร ทางการแพทย์ซึ่งมีความเสี่ยงในการติดเชื้อสูงจากการปฏิบัติงาน การนำหน้ากากอนามัยมาใช้ ซํ้าหลังทำการทำลายเชื้อแล้วเป็นอีกแนวทาง...

ตุลาคม - ธันวาคม 2563
การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Special Article

การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร พลดงนอก, สมศักดิ์ เทียมเก่า

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ช่วงเดือนพฤศจิกายน 2562 ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ จัดทำ หนังสือแจ้งเตือนมายังทุกโรงพยาบาลเพื่อดำ เนินการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค ซึ่ง ขณะนั้นยังเรียกว่าโรคปอดอักเสบจากเชื้อที่ระบาดในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน...

กรกฎาคม - กันยายน 2563
ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Routine To Research

ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร พลดงนอก, จันจิราภรณ์ วิชัย, พจนีย์ ขันศรีมนต์, ประกาย พิทักษ์, เมริษา สุทธาธิวงษ์1, สมศักดิ์ เทียมเก่า

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่แพร่กระจายทุกทวีปทั่วโลก กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดมาตรการป้องกันและควบคุมการ แพร่ระบาดของโรค COVID-19 ที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือ การเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางไปพื้นที่ที่ มีการระบาดของโรคและติดตามอาการภายหลังการเดินทางกลับเป็นระยะเวลา 14 วัน การศึกษา นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอาการ...

กรกฎาคม - กันยายน 2563
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่มารักษาของผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดเอสยก, การพัฒนาแอพพลิเคชั่นการเลี้ยงทารกปากแหว่งเพดานโหว่ด้วยนํ้านมมารดา, การออกแบบการวิจัยที่ตอบโจทย์การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research, ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ลดความเสี่ยง เลี่ยงโควิด 19 : ส่งยาถึงบ้าน, การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Digital Health, เพื่อสถาบันปราชญ์

กรกฎาคม - กันยายน 2563 ISSN 2697-6633

ผู้เขียน

Somchai Bovornkitti สุนทรี อุตตมะเวทิน สุวรรณี วิษณุโยธิน สุพัฒนา ศักดิษฐานนท์ เพ็ญแข จันทร์ราช พิษณุ อุตตมะเวทิน สุนทรี นํ้าใจทหาร สุธีรา ประดับวงษ์ ขนิษฐา วรธงไชย จัตุรงค์ เจริญฤทธิ์ พัทธ์ชนก เชาวน์ชื่น สุชาอร แสงนิพันธ์กูล บวรศิลป์ เชาวน์ชื่น พรนิภา หาญละคร สุดถนอม กมลเลิศ ธนิดา นันทะแสน อธิบดี มีสิงห์ รังสรรค์ ปุษปาคม สงวน บุญพูน อนุพล พานิชย์โชติ รัฐพล อุปลา ภัณฑิลา สิทธิการค้า สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล สมศักดิ์ เทียมเก่า สุณี เลิศสินอุดม ในนามของกลุ่มวิจัยโรคลม ชักแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สมชัย บวรกิตติ ทติยา เทพขุนทอง น้ำตาล แสนจันทร์ เควิน พี่. โจนส์ แจ็กเกอลีน แคโรลีน โจนส์