วารสาร

ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์: กรณีศึกษาจากการตรวจสุขภาพบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์: กรณีศึกษาจากการตรวจสุขภาพบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร ลีลดาภัทรกุล, สรายุทธ หลานวงศ์, จันจิราภรณ์ สิงห์ครุธ, สมศักดิ์ เทียมเก่า

การตรวจสุขภาพบุคลากรประจำปีเป็นหนึ่งในนโยบายสุขภาพที่ช่วยคัดกรองความผิดปกติในระยะแรก เพื่อให้เกิดการเสริมสร้างสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยง โดยประกอบไปด้วยการซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ รวมถึงการตรวจทางห้องปฏิบัติการ...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์: กรณีศึกษาจากการตรวจสุขภาพบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ประสิทธิผลของโปรแกรมการวางแผนจำหน่ายต่อคุณภาพชีวิตและภาวะแทรกซ้อน ของผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านมที่คาสายระบายสุญญากาศกลับบ้าน - ผลลัพธ์การดูแลผู้สูงอายุโดยใช้หลัก 4 แนวปฏิบัติ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ - มะเร็งปอดชนิดไม่ร้ายมาก - คนไทยกับเนื้องอกเยื่อเลื่อม - ส่งยาถึงบ้าน - การลดความแออัดในโรงพยาบาล ฯ

กรกฎาคม - กันยายน 2566 ISSN 2697-6633
ภาวะสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

ภาวะสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร ลีลดาภัทรกุล, จันจิราภรณ์ สิงห์ครุธ, ธนพล ต่อปัญญาเรือง, พีระ สมบัติดี, สมศักดิ์ เทียมเก่า

สุขภาพเป็นพื้นฐานที่สำ คัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ปัจจุบันพบว่าภาวะ สุขภาพของคนไทยมีแนวโน้มเปลี่ยนไปเนื่องจากประชาชนมีปัจจัยเสี่ยงทั้งปัจจัยพันธุกรรมและ สิ่งแวดล้อมมากขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตมีการ เปลี่ยนแปลง...

เมษายน - มิถุนายน 2566
สัดส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อคุณภาพของอาหาร ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

สัดส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อคุณภาพของอาหาร ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

พิมพ์ชนก วุฒิ, ปภาวรินท์ เหลืองจารุ, ภัทรนันท์ ศรศิลป์, มัณธนพร ชนะภัย, ผุสชา ขุนทิพย์ทอง, การัณย์ สวาทพงษ์, วรินทร วาดวงศ์, วสภะ องค์ธนาวัฒน์, บังอรศรี จินดาวงค์, ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์

อาหาร เป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต เมื่อร่างกายเจ็บป่วย ผู้ป่วยต้องการสารอาหาร และพลังงานมากขึ้น แต่สภาวะโรคกลับทำให้เบื่ออาหาร รับประทานอาหารได้ลดลง หากได้ รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอจะเกิดภาวะทุพโภชนาการได้ในที่สุด ซึ่งพบได้บ่อยใน ผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาลทุกช่วงอายุ ความชุกร้อยละ 20-504 ในประเทศไทยพบความชุกเฉลี่ย ร้อยละ 40...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
Original Article

ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19

พีรพล มหาสันติปิยะ, กิตติพงศ์ สุวรรณเลิศ, สิริกร บุพศิริ, อดิศวร เชียร์สุขสันต์, อริยาภรณ์ แก้วเวียงเดช, ศุภาวรรณ สุพรรณ, พรพิพัฒน์ อุทธิเสน, อาคม บุญเลิศ, สมพงษ์ ศรีแสนปาง

ความเครียดเป็นอารมณ์ที่พบได้โดยทั่วไปในชีวิตประจำวัน โดยความเครียดในระดับปกติ ที่เกิดขึ้นสามารถทำให้เกิดการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิด ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตได้ แต่ความเครียดที่มากขึ้นในระดับที่เป็นอันตราย อาจก่อให้เกิด ผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ ส่งผลกระทบต่อการเรียน การทำงาน หรือการใช้ชีวิตประจำวัน...

กรกฎาคม - กันยายน 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)

ณัฐวรรณ นามวงศ์พิสุทธิ์, จักรกฤษ วงชมภู, ปฏิภาณ โทอินทร์, ปาณัสม์ พัฒน์ดำรงจิตร, รัฐกานต์ ศรีหาคลัง, นภัสสร ตัณฑ์กำเนิด, วนัชพร ทิพย์โยธา, วริสรา ลุวีระ, บังอรศรี จินดาวงค์

ความสุข ถือเป็นเป็นอารมณ์เชิงบวก ที่ทำให้มองเหตุการณ์ต่างๆ ในแง่ดี เกิดความ สัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลรอบข้าง เมื่อมีความสุขจะทำให้รู้สึกพอใจกับตัวเองและส่งผลต่อ การประสบความสำเร็จในชีวิต แต่นักศึกษาแพทย์ มีภาระที่ต้องแบกรับหลายอย่าง ทั้งการเรียน ในภาคทฤษฎี ปฏิบัติ รวมถึงภาระงานที่มาก ส่งผลให้เกิดความเครียด และประสิทธิภาพในการ ทำงานการลดลงอย่างมาก

กรกฎาคม - กันยายน 2565
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ที่มีระดับความสุขระดับมากขึ้นไปและปัจจัยที่สัมพันธ์กับ ระดับความสุขของนักศึกษาแพทย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) - ความชุกและปัจจัยที่อาจสัมพันธ์กับความเครียดในนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่นในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 - สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความรู้ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน COVID-19 ในประเทศไทย - สัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้เพียงพอด้านวัคซีนที่เป็น สำหรับขึ้นปฏิบัติงาน ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์ข้อมูลการลงทะเบียน งานประชุมวิชาการทางการแพทย์เพื่อการตัดสินใจเชิงธุรกิจ

กรกฎาคม - กันยายน 2565 ISSN 2697-6633
ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านสารบรรณของบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านสารบรรณของบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สุพรรณี อุพลเถียร

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานด้านสารบรรณ และปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านสารบรรณของ บุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ตุลาคม - ธันวาคม 2563
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่มารักษาของผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดเอสยก
Original Article

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่มารักษาของผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดเอสยก

เบญจมาศ แสนแสง, ศรันยา ดวงเดือน, ขันทอง มางจางดีอุดม, อรุณศรี แสนเมือง, ภัทรพงษ์ มกรเวส

โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดเอสทียก เป็น ภาวะที่หลอดเลือดหัวใจถูกลิ่มเลือดอุดตันโดยสิ้นเชิงนับเป็นภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่ต้องได้รับ การรักษาอย่างทันท่วงที ระยะเวลาที่ล่าช้าจะส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิต หรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ถาวร ซึ่งการรักษาที่ถูกต้องและรวดเร็วโดยการเปิดหลอดเลือดด้วยยาละลายลิ่มเลือดหรือการ ขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูนจะช่วยลดความพิการและอัตราการเสียชีวิตลงได้...

กรกฎาคม - กันยายน 2563
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่มารักษาของผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดเอสยก, การพัฒนาแอพพลิเคชั่นการเลี้ยงทารกปากแหว่งเพดานโหว่ด้วยนํ้านมมารดา, การออกแบบการวิจัยที่ตอบโจทย์การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research, ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ลดความเสี่ยง เลี่ยงโควิด 19 : ส่งยาถึงบ้าน, การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Digital Health, เพื่อสถาบันปราชญ์

กรกฎาคม - กันยายน 2563 ISSN 2697-6633

ผู้เขียน

เบญจมาศ แสนแสง ศรันยา ดวงเดือน ขันทอง มางจางดีอุดม อรุณศรี แสนเมือง ภัทรพงษ์ มกรเวส อาภรณ์ ยิ้มเนียม ยุวภา บัวพันตอง ศิริพร อุตสาหพาณิช เตือนใจ พิทยาวัฒนชัย จนิสตา วงศ์รัตนชีวิน สมศักดิ์ เทียมเก่า สมชัย บวรกิตติ นัชชา ลานอุ่น วธูสิริ อาชาอภิสิทธิ์ วรปรัชญ์ พารีศรี บุษยารัตน์ สินธนพรตะวัน อาภาพรรณ นเรนทร์พิทักษ์ ปิยะพงษ์ คำบูชา ธีรพล มโนศักดิ์เสรี ศุภลักษณ์ รายยวา สิริรัตน์ วีระเศรษฐกุล นิติพล สีมะสิงห์ จิราวรรณ ลีลาพัฒนาพาณิชย์ เควิน พี่. โจนส์ แจ็กเกอลีน แคโรลีน โจนส์ ปาริชาติ เพียสุพรรณ์ ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ณัฐชญา บัวละคร แพงพรรณ ศรีบุญลือ รัตนาภรณ์ ศิริเกต วริศยา แก่นนาคำ ชุติมา เทียนทอง เฉลิมศรี สรสิทธิ์ นภสินธุ์ ไชยเสนา รานี แสงจันทร์นวล Somchai Bovornkitti พิมพ์ใจ จิตรจักร อรดา สีหาราช นลัทพร สืบเสาะ คำผล สัตยวงษ์ ทิฆัมพร ตับทอง เอื้อนจิต พานทองวิริยะกุล จงกล พลตรี ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า