วารสาร

การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนหน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม
Original Article

การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนหน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม

นภสินธุ์ ไชยเสนา, รานี แสงจันทร์นวล

ปัจจุบันคนไทยมีอายุขัยเฉลี่ยที่ยาวนานขึ้นและจำนวนประชากรผ้สูงอายุเพิ่มขึ้นจากการ พัฒนาประเทศและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางการแพทย์ การพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าว ทำให้การรักษาโรคได้ผลดีขึ้น อัตราการตายลดลง และประชาชนมีอายุยืนยาวขึ้น ทำให้ประชากร สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น จากสถิติประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2565 มีจำนวนผู้สูงอายุ ถึง 12,519,926 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 18.44 เมื่อเทียบกับประชากร 66 ล้านคน

มกราคม - มีนาคม 2567
โครงการพัฒนางานการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมในชุมชนด้วยสุข 5 มิติ หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม
Original Article

โครงการพัฒนางานการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมในชุมชนด้วยสุข 5 มิติ หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม

นภสินธุ์ ไชยเสนา, ยุวดี ลาดเหลา, กาญจนา แก้วมงคล, ศิริพร นามมา, กุหลาบ รัตนภักดี,รานี แสงจันทร์นวล

สถานการณ์ผู้สูงอายุของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562 มีจำนวนผู้สูงอายุถึง 11,136,059 คน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2561 ถึง 469,256 คน คิดเป็นร้อยละ 16.73 เมื่อเทียบกับประชากรทั้งหมด ของประเทศจำนวน 64 ล้านคน และมีแนวโน้มว่าสัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 25.00 หรือเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่าตัว ในปี พ.ศ. 2573...

มกราคม - มีนาคม 2567
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- โครงการพัฒนางานการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมในชุมชนด้วยสุข 5 มิติ หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม - การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม - การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ - การรับ-ส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง - การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาด้วยการสวนหลอดเลือดสมอง - การยกเครื่องระบบสาธารณสุขไทย - ระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองจังหวัดขอนแก่น

มกราคม - มีนาคม 2567 ISSN 2697-6633
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์: กรณีศึกษาจากการตรวจสุขภาพบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์: กรณีศึกษาจากการตรวจสุขภาพบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร ลีลดาภัทรกุล, สรายุทธ หลานวงศ์, จันจิราภรณ์ สิงห์ครุธ, สมศักดิ์ เทียมเก่า

การตรวจสุขภาพบุคลากรประจำปีเป็นหนึ่งในนโยบายสุขภาพที่ช่วยคัดกรองความผิดปกติในระยะแรก เพื่อให้เกิดการเสริมสร้างสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยง โดยประกอบไปด้วยการซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ รวมถึงการตรวจทางห้องปฏิบัติการ...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์: กรณีศึกษาจากการตรวจสุขภาพบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ประสิทธิผลของโปรแกรมการวางแผนจำหน่ายต่อคุณภาพชีวิตและภาวะแทรกซ้อน ของผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านมที่คาสายระบายสุญญากาศกลับบ้าน - ผลลัพธ์การดูแลผู้สูงอายุโดยใช้หลัก 4 แนวปฏิบัติ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ - มะเร็งปอดชนิดไม่ร้ายมาก - คนไทยกับเนื้องอกเยื่อเลื่อม - ส่งยาถึงบ้าน - การลดความแออัดในโรงพยาบาล ฯ

กรกฎาคม - กันยายน 2566 ISSN 2697-6633
ภาวะสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

ภาวะสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร ลีลดาภัทรกุล, จันจิราภรณ์ สิงห์ครุธ, ธนพล ต่อปัญญาเรือง, พีระ สมบัติดี, สมศักดิ์ เทียมเก่า

สุขภาพเป็นพื้นฐานที่สำ คัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ปัจจุบันพบว่าภาวะ สุขภาพของคนไทยมีแนวโน้มเปลี่ยนไปเนื่องจากประชาชนมีปัจจัยเสี่ยงทั้งปัจจัยพันธุกรรมและ สิ่งแวดล้อมมากขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตมีการ เปลี่ยนแปลง...

เมษายน - มิถุนายน 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 2

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Are Mesothelioma Patients in Thailand Background Cases ? - The Aging Lung - การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam - ภาวะสุขภาพของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ประสิทธิผลของโมบายแอปพลิเคชันต่อความร่วมมือในการกินยาต้านไวรัส ในวัยรุ่นที่ติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ - ความชุกของการติดเชื้อ Human papilloma virus กลุ่มเสี่ยงสูง จีโนไทป์ 52 และความสัมพันธ์กับการพบความผิดปกติทางเซลล์วิทยา - บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการผู้ป่วยโรคลมชัก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19

เมษายน - มิถุนายน 2566 ISSN 2697-6633
ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565
Original Article

ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565

จันทนา ผางโคกสูง, อนุพล พาณิชย์โชติ

การจัดการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต มีความแตกต่างจากคณะอื่นๆ โดยเฉพาะ การจัดการศึกษาในชั้นคลินิกเนื่องจากมีการเรียนภาคทฤษฎีควบคู่กับการฝึกปฏิบัติทางคลินิก ลักษณะของหลักสูตรแบ่งออกเป็นสองช่วงชั้น คือระดับปรีคลินิกและคลินิก ซึ่งมีความแตกต่าง กันในหลายบริบท จากสถานการณ์และความเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ภาวะสุขภาพและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี...

มกราคม - มีนาคม 2566