วารสาร

การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อ Aspergillus spp. ในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายตับ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
Clinical Tracer

การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อ Aspergillus spp. ในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายตับ โรงพยาบาลศรีนครินทร์

ศิริขจร พรหมศิริ, อัมรา ศิริทองสุข, สงวน บุญพูน

เชื้อรา Aspergillus species เป็นเชื้อราก่อโรคที่สำคัญของมนุษย์ มีรูปแบบการก่อโรคที่ หลากหลายขึ้นกับปฏิกิริยาระหว่างภูมิคุ้มกันของร่างกาย ตั้งแต่การเกิดภูมิคุ้มกันไวเกิน ปอดติดเชื้อ Aspergillus ชนิดเชื้อรัง จนถึงโรคติดเชื้อ Aspergillus ชนิดรุกราน...

ตุลาคม - ธันวาคม 2567
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- You'll Never Walk Alone - A Matter of Opinion - การสำรวจพุน้ำร้อนในประเทศไทย - การพัฒนาเครื่องมือ Dashboard เพื่อติดตามผลการดำเนินงานในระดับสาขาวิชา - การพัฒนาวิธีการตรวจสอบคุณสมบัติผู้ผู้รับผิดชอบหลักสูตรตามเกณฑ์การกำกับมาตรฐาน - ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยพิเศษโรงพยาบาลเหนือตติยภูมิ - การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อ Aspergillus spp. ในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายตับ โรงพยาบาลศรีนครินทร์. - เรียนท่านประธานคณะกรรมการวิสามัญพิจารณาศึกษากฎหมายและมาตรการควบคุมกำกับบุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทย

ตุลาคม - ธันวาคม 2567 ISSN 2697-6633
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์

สุดถนอม กมลเลิศ, เพชรรัตน์ บุตะเขียว, ภัทรพล คำสอนทา, สุพัฒน์ ทัพหงษา, วราลักษณ์ เย็นญา

ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว วิทยาการด้านเทคโนโลยีและ สารสนเทศ มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตและการทำงานเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เพราะข้อมูล (data) เป็นประโยชน์โดยตรงต่อการกำหนดเป้าหมายในการทำงาน การสื่อสาร การควบคุมติดตาม และ การประเมินผลการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคการปฏิรูประบบ สุขภาพ ที่เน้นการพัฒนาข้อมูลข่าวสารและระบบเครือข่าย

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Global TB Time Bomb - Asbestos Fibers in the Lung - สารพิษที่พิจารณาเลิกใช้ - การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตกที่รับการรักษาด้วยการไม่ผ่าตัด - การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะกลืนลำบากและการดูแลสุขภาพช่องปาก - การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูสภาพ - ใบชากับมะเร็งหลอดอาหาร ฯ

ตุลาคม - ธันวาคม 2566 ISSN 2697-6633
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Special Article

การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร พลดงนอก, สมศักดิ์ เทียมเก่า

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ช่วงเดือนพฤศจิกายน 2562 ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ จัดทำ หนังสือแจ้งเตือนมายังทุกโรงพยาบาลเพื่อดำ เนินการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค ซึ่ง ขณะนั้นยังเรียกว่าโรคปอดอักเสบจากเชื้อที่ระบาดในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน...

กรกฎาคม - กันยายน 2563
ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Routine To Research

ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร พลดงนอก, จันจิราภรณ์ วิชัย, พจนีย์ ขันศรีมนต์, ประกาย พิทักษ์, เมริษา สุทธาธิวงษ์1, สมศักดิ์ เทียมเก่า

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่แพร่กระจายทุกทวีปทั่วโลก กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดมาตรการป้องกันและควบคุมการ แพร่ระบาดของโรค COVID-19 ที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือ การเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางไปพื้นที่ที่ มีการระบาดของโรคและติดตามอาการภายหลังการเดินทางกลับเป็นระยะเวลา 14 วัน การศึกษา นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอาการ...

กรกฎาคม - กันยายน 2563
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่มารักษาของผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดเอสยก, การพัฒนาแอพพลิเคชั่นการเลี้ยงทารกปากแหว่งเพดานโหว่ด้วยนํ้านมมารดา, การออกแบบการวิจัยที่ตอบโจทย์การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research, ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ลดความเสี่ยง เลี่ยงโควิด 19 : ส่งยาถึงบ้าน, การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Digital Health, เพื่อสถาบันปราชญ์

กรกฎาคม - กันยายน 2563 ISSN 2697-6633
สัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียงพอเกี่ยวกับระบาดวิทยาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
Original Article

สัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียงพอเกี่ยวกับระบาดวิทยาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)

ณัฐวรา แสงวิจิตร, ชวัลวิทย์ อยู่วิทยา, ภัทรพล ขำดี, สิรวิชญ์ วรรณศรี, ก้องเกียรติ กองกาญจนะ, ชญานิศ โรจนศักดิ์โสธร, ปิยลักษณ์ ห้าวหาญ, สุชาดา ภัยหลีกลี้, ศิรินทิพย์ บุญจรัสภิญโญ

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ระบาดในหลายพื้นที่ทั่วโลก นักศึกษาแพทย์ควรมีความรู้ในการเฝ้าระวังและ รายงานโรคตามเกณฑ์ที่แพทยสภากำหนดเพื่อจัดการด้านระบาดวิทยาอย่างมีประสิทธิภาพ การ ศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียง พอเกี่ยวกับระบาดวิทยาและความรู้ทั่วไปของโรค COVID-19

เมษายน - มิถุนายน 2563